อุบลราชธานี สกนช.เร่งศึกษาจัดทำแผนผังน้ำ ลุ่มน้ำมูล

จ.อุบลฯ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กลุ่มประชาสัมพันธ์เผยแพร่ สำนักงานเลขาธิการ (สกนช)เร่งศึกษาจัดทำแผนผังน้ำ ลุ่มน้ำมูล

เพื่อกำหนดขอบเขต
เส้นทางน้ำ (สกนช)เดินหน้าโครงการจัดทำผังน้ำ ลุ่มน้ำมูล เพื่อกำหนดขอบเขตเส้นทางน้ำ หวังใช้เป็นแนว ทางการบริหารจัดการน้ำในน้ำมูลทั้งฤดูน้ำหลากและฤดูแล้งอย่างมีประสิทธิภาพ คาดแล้วเสร็จ เดือนกันยายน 2564 วันนี้ 17 กันยายน 2563 นายศุภศิษย์ กอเจริญยศ รองผู้ว่ราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นประธานเปิดการ ประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 1 ปฐมนิทศโครงการโครงการจัดทำแผรผังน้ำลุ่มน้ำมูล ณ ห้องทับทิมสยาม 4 โรงแรมสุ แกรนต์ แอนด์ คอนวนชั่น เซ็นตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อประชสัมพันธ์การจัดทำแผนผังน้ำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้


รับทราบถึงความเป็น วัตถุประสค์ แนวคิดแนวทางทางในการจัดทำแผนผังน้ำ พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ สภาพปัญหา ตกกังวลต่างๆจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยมีนายบุญสม ชลพิทักษ์วงศ์ ผู้อำนวย ศูนย์อำนวยการน้ำแห่ชาติ สกนช.ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงนภาครัฐและเอกชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สื่อมวลชน และประชาชนในพื้นที่
นายบุญสม ชลพิทักษ์วงศ์ ผู้อำนวยศูนย์อำนวยการน้ำแห่งชาติ เนื่องจากที่ผ่านมาพื้นที่ลุ่มน้ำมูลประสบ ปัญหาท่วมหลก และภัยแล้งเนื่องมาจากปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของประชากร การเปลี่ยนแปลงการพัฒนาทั้ง ด้านเศรษฐกิจและสังคม ทำให้มีความต้องการใช้พื้นที่เพื่อกิจกรรมต่งๆ พิ่มสูงขึ้น ทั้งเพื่อการอยู่อาศัย การท่องเที่ยว อุตสาหกรม และกษตรกรม ส่งผลให้เกิดการชำรุดพื้นที่ลำน้ำในลักษณะที่ไม่ หมาะสมทั้ของภาครัฐ ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมและอุทกภัยในช่วงฤดูฝน ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่และทรัพย์สินของประชชนที่อยู่ในพื้นที่ทางน้ำ แหละปัญหาแนวโน้มความรุนแรงเพิ่มขึ้น


สำนักงานทรัพยกรน้ำแห่ชาติ สทนช. ซึ่งเป็นผู้จัดทำแผนผังน้ำตามพระราชบัณฑิตทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2563 จรึงจัดให้
มีโครงการจัดทำผังน้ำลุ่มน้ำมูลขึ้น โดยจะทำการศึกษาครอบคลุม 10จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ
อุบลรชรนี ยโสธ อำนาจเจริญมหาสารคาม ขอนแก่น และร้อยเอ็ด เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำฝั่งน้ำ และ รายการประกอบแผนผังน้ำให้สอดคล้องตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ และเพื่อให้การดำเนินการจัดทำแผนผังน้ำเป็นไปตามที่
กำหนด จรึงได้วจามหวิทยลัยเกษตรศตร์ ป็นสถาบันที่ปรึกษาดำเนินงานโครงการจัดทำผังน้ำลุ่มน้ำมูล เพื่อกำหนด กรอบแนวทางวิธีกรศึกษาการจัดทำผังน้ำที่เหมาะสมกับพื้นที่แม่น้ำมูล และกำหนดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในระบบทาง น้ำ และกำหนดแผนที่ผังน้ำที่มีมาตฐนและใช้ประโยชน์ได้ อีกทั้งเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้อย่างสอดคล้อง


เชื่อมโยงกัน สำหรับแนวทางการดำเนินโครงการจะดำเนิการศึกษาอย่างรอบด้าน ทั้งจะทำการศึกษารวบรวมข้อมูลและทบทวน ข้อมูลที่กี่ยวข้องกับองค์ประกบของผังน้ำ สเหตุของการเกิดอุทกภัยและภัยแล้ง ข้อมูลน้ำท่วมและน้ำแล้ง พื้นที่น้ำท่วมและประสบ ปัญหภัยแล้ง ความเสียและภัยแล้ว พื้นที่สี่ยอุทกภัยและภัยแลังของพื้นที่ลุ่มน้ำทั้งในอดีตปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลทะเบียนแหล่งน้ำ รบรวมแผการบริหารจัดการน้ำช่วงฤดูน้ำหลาก แผนบริหารจัดการอุทกภัย และระบบ ป้องกันน้ำท่วม จกหวยงนต่งๆ ประกอบการศึกษาอย่างละเอียดรอบต้าน ทั้งนี้ในการศึกษาจะให้ความสำคัญกับ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมีระยะเวลาการศึกษาโครงการ 480 วัน เริ่มดำเนินการตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2563 และจะแล้วเสร็จภายใน 20 กันยายน 2564 การศึกษาโครงการการจัดแผนผังน้ำมูลแล้วสำเร็จประกาศในในราชการดำริทำให้เกิดการใช้จากที่ดินที่ไม่หนังการทางน้ำและเป็นแนวทางในการบริหารจัดการน้ำในกลุ่มน้ำข้อมูลทะลุดูน้ำหลากและฤดูฝนออกจากประสิทธิภาพช่วยลดความเสียหายต่อพื้นที่และทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ทางน้ำและเพื่อความมั่นคงการใช้ประโยชน์จากที่ดินและทั้งนี้ สกนช.วงการจัดทำศึกษาและสำเร็จในเดือนกันยายนพศ 2560 โดยผลการศึกษาจากเกิดประโยชน์โดยจะเป็นแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่กีดขวางระบบทางน้ำและเป็นแนวทางในการบริหารจัดการน้ำในฤดูและฤดูแล้งอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะช่วยลดความเสียหายต่อพื้นที่และทรัพย์สินของประชาชน บุญสม ชนพิทักษ์ผู้อำนวยการศูนย์การน้ำแห่งชาติ สกนช.กล่าวสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

ภาพ/ข่าว เอกชัย โปธา รายงาน